วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

จำนวนจริง

   เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
     - เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                      I = {1,2,3…}
    - เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I   อ่านต่อ


การให้เหตุผล

   การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เป็นการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกต หรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป ซึ่งข้อสรุปที่ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง  อ่านต่อ


https://krurama.files.wordpress.com/2014/08/e0b8ade0b8b8e0b89be0b899e0b8b1e0b8a2.jpg

เซต

    เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น
       เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u
       เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9
        สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members ) อ่านต่อ


วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน (Function)

1 . ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

     นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใดๆ ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesian Product) ของ A และ B คือ
A × B = {(a, b) | a ∈ A และ b ∈ B)}
ข้อสังเกต
1.) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และ B เป็นเซต ดังนั้นจึงสามารถพูดถึงนิยามต่างๆ ของเซตได้
2.) n(A × B) = n(A) ⋅ n(B) = n(B × A)
3.) A × B เทียบเท่า B × A แต่ A × B ไม่จำเป็นต้องเท่ากับ B × A
4.) ถ้า A = φ หรือ B = φ จะได้ว่า A × B = φ  อ่านต่อ